วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2559
หน่วยความจำรอง
หน่วยความจำรองหรือหน่วยเก็บข้อมูล (Storage) มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ไว้
และสามารถนำกลับมาใช้งานได้อีกตามต้องการ บางครั้งเรียกว่า หน่วยความจำสำรอง (Secondary
Memory) ประกอบด้วย (อ่านเพิ่มเติม)
วันอังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2559
หน่วยส่งออก
คอมพิวเตอร์ติดต่อกับมนุษย์โดยแสดงผลของการทำงานให้มนุษย์รับรู้ทางหน่วยแสดงผล
หน่วยแสดงผลที่สำคัญสำหรับไมโครคอมพิวเตอร์คือ จอภาพ (monitor)
ลำโพง (speaker) และเครื่องพิมพ์ (อ่านเพิ่มเติม)
หน่วยแสดงผลที่สำคัญสำหรับไมโครคอมพิวเตอร์คือ จอภาพ (monitor)
ลำโพง (speaker) และเครื่องพิมพ์ (อ่านเพิ่มเติม)
หน่วยรับเข้า
หน่วยรับข้อมูลทำหน้าที่รับโปรแกรมและข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
โดยข้อมูลอาจส่งผ่านอุปกรณ์รับข้อมูลได้โดยตรง เช่น ผ่านแผงแป้นอักขระ (Keyboard) (อ่านเพิ่มเติม)
ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ในปัจจุบันนี้เครื่องคอมพิวเตอร์หรือเครื่องพีซีได้เข้ามามีบทบาทกับชีวิตประจำวันอย่างมาก
ไม่ว่าจะเป็นการเก็บบันทึกข้อมูล การออกแบบ การค้นคว้าหาความรู้ (อ่านเพิ่มเติม)
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์จะเป็นไปตามที่โปรแกรมได้กำหนดไว้
โดยตัวเครื่องคอมพิวเตอร์หรือที่เรียกว่าฮาร์ดแวร์
จะมีส่วนประกอบสำคัญขั้นพื้นฐาน
5 หน่วย ซึ่งแต่ละหน่วยจะมีหลักการทำงาน (อ่านเพิ่มเติม)
หน่วยแสดงผล
หน่วยแสดงผล คือ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ผ่านการประมวลผล
โดยจะแปลงผลลัพธ์ จากสัญญาณไฟฟ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ให้กลายเป็นรูปแบบที่มนุษย์(อ่านเพิ่มเติม)
หน่วยความจำหลัก
หน่วยความจำหลัก
หน่วยความจำหลัก
มีหน้าที่เป็นแหล่งเก็บข้อมูลการทำงานของคอมพิวเตอร์
ซึ่งรวมทั้งตัวคำสั่งในโปรแกรมและข้อมูลต่างๆ ที่จะใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะ (อ่านเพิ่มเติม)
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
1. ฮาร์ดแวร์ ( Hardware ) ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบของตัวเครื่องที่สามารถจับต้องได้
ได้แก่ วงจรไฟฟ้า ตัวเครื่อง จอภาพ เครื่องพิมพ์ คีร์บอร์ด
เป็นต้นซึ่งสามารถแบ่งส่วนพื้นฐานของฮาร์ดแวร์เป็น 4 หน่วยสำคัญ (อ่านเพิ่มเติม)
การทำงานงานของCPU
การทำงานของคอมพิวเตอร์ ใช้หลักการเก็บคำสั่งไว้ที่หน่วยความจำ
ซีพียูอ่านคำสั่งจากหน่วยความจำมาแปลความหมายและกระทำตามเรียงกันไปทีละคำสั่ง
หน้าที่หลักของ (อ่านเพิ่มเติม)
การทำงานขั้นพื้นฐานของเครื่อง ATM
(ATM NETWORKS)
เครือข่าย ATM จะใช้โปรโตคอล ATM (Asynchronous Transfer
Mode) เป็นมาตรฐานการส่งข้อมูลความเร็วสูง โดย ATM ถูกพัฒนามาเพื่อให้ใช้กับงานที่มีลักษณะ
ข้อมูลหลายรูปแบบและต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมากๆ สื่อที่ใช้
ในเครือข่ายมีได้ตั้งแต่สายไฟเบอร์ออปติค สายโคแอกเชียล หรือสายไขว้คู่ (Twisted
pair) มีความเร็ว (อ่านเพิ่มเติม)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)